ความต้องการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยมีอยู่ในหลายกลุ่มอาชีพ โดยเฉพาะอาชีพที่ต้องการ แรงงานระดับต่ำ หรืองานที่ต้องการความชำนาญพิเศษ เช่น งาน ด้านการเกษตร งานช่าง งาน บริการร้านอาหารและโรงแรม และงานอุตสาหกรรม (คลิกอ่านต่อ)
อ่านเพิ่มเติมความต้องการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยมีอยู่ในหลายกลุ่มอาชีพ โดยเฉพาะอาชีพที่ต้องการ แรงงานระดับต่ำ หรืองานที่ต้องการความชำนาญพิเศษ เช่น งาน ด้านการเกษตร งานช่าง งาน บริการร้านอาหารและโรงแรม และงานอุตสาหกรรม (คลิกอ่านต่อ)
อ่านเพิ่มเติมการนำเข้าแรงงานต่างด้าวมีหลายสาเหตุที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ - ขาดแคลนแรงงาน : บางกลุ่มอาชีพในประเทศไทยมีแรงงานไม่เพียงพอต่อความต้องการของธุรกิจ ซึ่งสามารถช่วยแก้ไขโดยการนำเข้าแรงงานต่างด้าวมาช่วยเติบโตและพัฒนาธุรกิจในประเทศไทยได้ ( คลิกอ่านต่อ )
อ่านเพิ่มเติม2,744,631 คน จำแนกตามลักษณะการเข้าเมืองสรุปรายละเอียดได้ดงันี้ มาตรา 59 จำนวน 676,778 คน - ตลอดชีพ* จำนวน 5 คน - ประเภททัว่ไป จำนวน 109,264 คน - นำเข้าตาม MOU จำนวน 567,509 คน มาตรา 62 ส่งเสริมการลงทุนและกฎหมายอืน่ๆ จำนวน 47,332 คน มาตรา 63/1 ชนกลุ่มน้อย จำนวน 93,375 คน มาตรา 63/2 มติ ครม. 7 กุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 1,912,031 คน มาตรา 64 คนต่างด้าวที่เข้ามาทำงาน ไป-กลับหรือตามฤดูกาล จำนวน 15,115 คน มาตรา 59 ประเภททัว่ไป ประเภทอาชีพทีไ่ด้รับอนุญาตทำงานมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ (คลิกเพื่ออ่านต่อ)
อ่านเพิ่มเติม. ยื่น Demand จัดหางาน (ประมาณ 7-14 วัน) 2. ส่ง Demand ไปให้ agency กัมพูชา , ลาว เพื่อทำ Name List (ประมาณ 1 อาทิตย์ ได้ Name List) 3. ได้ Name List แล้ว ทำ ตท.2 จ่ายค่า Work Permit (ใบอนุญาตทํางาน) ที่จัดหางาน (ประมาณ 7-14 วัน) 4. กรมฯออกหนังสือถึง ตม. (7-14 วัน) 5. ส่งหนังสือCalling Visa ไปประเทศต้นทาง (ประมาณ 15 วัน) ส่วนเอกสาร ตม. 6. ทำ Smart Card (ขึ้นทะเบียนต่างด้าว) และตรวจลงตราวีซ่า (1 วัน) 7. ตรวจโรค (1 วัน) และ นําแรงงานต่างด้าวเข้าไทย 8. แจ้งเข้าขั้นตอนสุดท้ายที่จัดหางาน (ไม่เกิน 15 วัน นับจากวันที่เข้ามาทำงาน) ระยะเวลาดําเนินการประมาณ
อ่านเพิ่มเติม